กิจกรรม 17-21 มกราคม 2554

สืบค้นข้อมูล


ตอบข้อ 3.
อธิบาย
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก
กาลิเลโอ ได้ทำการทดลองให้เห็นว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อมานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำไมดวงจันทร์ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำไมผลแอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้ทำการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูดของ สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกันและ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำให้ดวงจันทร์ลอยโคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูดระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระตามแรงดึงดูดนั้น

ที่มาhttp://www.changsunha.com/index.php/science/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87/


ข้อ.42.

ตอบข้อ 2. 10m/s
อธิบายการเคลื่อนที่ คือ การที่วัตถุย้ายตำแหน่งจากที่เดิมไปอยู่ที่ตำแหน่งใหม่   ปริมาณที่ใช้บอกขนาดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ คือ ระยะทางและการกระจัด
          ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์
ที่มาhttp://www.snr.ac.th/elearning/kosit/sec01p03.html


ข้อ 43.

ตอบข้อ 4. 49m/s
อธิบาย   การตกเสรี  ความเร่งคือ g เสมอ
ที่มาเมื่อปล่อยให้วัตถุตกอย่างเสรี วัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ นั่นคือ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว เรียกความเร่งเนื่องจากการตกของวัตถุว่า ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (gravitational acceleration) ใช้สัญลักษณ์  g  มีค่าเท่ากับ  9.80665 m/s  เพื่อความสะดวกในการคำนวณมักใช้ค่าเป็น  9.8 m/s หรือ  10  m/s มีทิศดิ่งลงสู่พื้นเสมอ                        2.2 กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่ง                              การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีแนวการเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่ง เป็นการเคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ความเร็วของวัตถุจะลดลงอย่างสม่ำเสมอ แสดงว่าเคลื่อนที่ขึ้นไปด้วยความเร่งที่มีทิศตรงข้ามกับความเร็ว
ที่มาhttp://202.143.139.229/~boonlai/webdata/straigth%20motion.htm

ข้อ 44.


ตอบข้อ 3. 4 s
อธิบาย
คือการที่วัตถุเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำรอยเดิม มักจะใช้สัญญลักษณ์ว่า SHM. ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบนี้ได้แก่ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกผูกติดไว้กับสปริงในแนวราบ แล้ววัตถุเคลื่อนที่ไปมาตามแรงที่สปริงกระทำต่อวัตถุ ซึ่งเขาจะศึกษาการเคลื่อนที่นี้จากรูปที่ 1
ในรูปที่ 1a ตำแหน่ง x = 0 เป็นตำแหน่งสมดุลของปริง หรือ เป็นตำแหน่งที่สปริงมีความยาวตามปกติ ณ ตำแหน่งนี้สปริงจะไม่ส่งแรงมากระทำต่อวัตถุ ในรูปที่ 1a นี้มีวัตถุมวล m ผูกติดกับสปริง วางอยู่บนพื้นที่ซึ่งไม่มีแรงเสียดทาน ที่ตำแหน่งซึ่งปริงยืดออกจากความยาวปกติเป็นระยะทาง A สปริงจะออกแรงดึงวัตถุมวล m กลับมาอยู่ในตำแหน่งสมดุล x = 0 เรียกแรงที่สปริงกระทำต่อวัตถุนี้ว่าแรงดึงกลับ (Restoring force) ถ้า F เป็นแรงดึงกลับนี้จะได้ว่า
F = -kx -----(1)

ที่มาhttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/supinya/harmonic-mot/harmonic.htm

ข้อ 45.

ตอบข้อ 2.ไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้ม
อธิบายมนุษย์เริ่มใช้นาฬิกาแบบลูกตุ้มมาตั้งแต่ปี  ค.ศ.  1659   ในขณะนั้นถือว่ามีความเที่ยงตรงสูงมาก    นาฬิกามีชิ้นส่วนสำคัญต่างๆดังต่อไปนี้
  • หน้าปัดมีเข็มชั่วโมง นาที และวินาที
  • มีตุ้มน้ำหนักจำนวน  1  หรือมากกว่า  (ถ้าเป็นนาฬิกาที่ทันสมัยขึ้นมาอีกหน่อย  จะใช้สปริงขดเป็นวงแทน)
  • ลูกตุ้มที่แกว่งไปมา    ซึ่งการแกว่งทั่วๆไป  คือ หนึ่งครั้งต่อหนึ่งวินาที   หรือบางยี่ห้อก็แกว่งสองครั้งต่อวินาที  ส่วนนาฬิการุ่นที่เก่าจริงๆ  จะแกว่ง    1  ครั้งต่อ  2  วินาที

ที่มาhttp://www.rmutphysics.com/CHARUD/howstuffwork/pendulum-clock/pendulum-clockthai.htm

ข้อ 46.

ตอบข้อ 4.
ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ที่ไม่สามารถเป็นจำนวนลบ และมีเพียงขนาด (magnitude) ในขณะที่ระยะกระจัด (displacement) จะเทียบเท่ากับปริมาณเวกเตอร์ที่มีทั้งขนาดและทิศทาง
ระยะทางที่นับโดยยานพาหนะ (ด้วยมาตรระยะทาง) หรือโดยคน สัตว์ สิ่งของ ฯลฯ ควรแยกแยะออกจากระยะกระจัดระหว่างจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด ถึงแม้ว่าจะหมายถึงระยะทางที่สั้นที่สุดก็ตาม เนื่องจากเส้นทางอาจมีการวนรอบ ซึ่งจุดสิ้นสุดสามารถเป็นจุดเดียวกับจุดเริ่มต้นก็ได้

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87

ข้อ 47.

ตอบข้อ 3.ความเร็วของวัตถุในแนนดิ่งมีค่าเป็นศูนย์
อธิบาย
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์(Motion of a Projectile) คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้ง
ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่ เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา

ที่มาhttp://www.school.net.th/library/snet3/supinya/projectil-m/projecti.htm

ข้อ 48.


ตอบข้อ 1. 1.6m/s
อธิบาย
เมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ซึ่งเรามักว่าเรียกความเร่ง กับ ความหน่วง ตามลำดับ ความเร่งมีนิยามว่า "อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง" และกำหนดโดยสมการนี้

\mathbf{a} = {d\mathbf{v}\over dt}
เมื่อ
a คือ เวกเตอร์ความเร่ง
v คือ เวกเตอร์ความเร็ว ในหน่วย m/s
t คือ เวลา ในหน่วยวินาที
จากสมการนี้ a จะมีหน่วยเป็น m/s² (อ่านว่า "เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง")
หรือเขียนเป็นอีกสมการได้

\mathbf{\bar{a}} = {\mathbf{v} - \mathbf{u} \over t}
เมื่อ
\mathbf{\bar{a}} คือ ความเร่งเฉลี่ย (m/s²)
\mathbf{u} คือ ความเร็วต้น (m/s)
\mathbf{v} คือ ความเร็วปลาย (m/s)
\mathbf{t} คือ ช่วงเวลา (s)
ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87

ข้อ 49.


ตอบข้อ 3. 2.0m/s
อธิบาย
อัตราเร็ว เป็นปริมาณสเกลาร์ที่มีมิติเป็นระยะทาง/เวลา ปริมาณเวกเตอร์ที่เทียบเท่ากับอัตราเร็วคือความเร็ว อัตราเร็ววัดในหน่วยเชิงกายภาพเดียวกับความเร็ว แต่อัตราเร็วไม่มีองค์ประกอบของทิศทางแบบที่ความเร็วมี อัตราเร็วจึงเป็นองค์ประกอบส่วนที่เป็นขนาดของความเร็ว
ในรูปสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ อัตราเร็วคือ
v = \frac {d}{t}
ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7

ข้อ 50.

ตอบข้อ 4. ทิศ -Y ด้วยความเร่ง
อธิบายเมื่อ อนุภาคตัวหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้น เราจะกล่าวว่า อนุภาค มี ความเร่ง (acceleration) แต่ถ้า มีความเร็วลดลง เราจะกล่าวว่า อนุภาคมีความหน่วง (deceleration or retardation)
ถ้าให้ อนุภาค หรือวัตถุ เคลื่อนที่ตามแนวแกน x อย่างเดียว สมมติว่า ที่เวลา t1 อนุภาค อยู่ที่จุด P1 และมีความเร็วชั่วขณะ เป็นส่วนประกอบแกน x เป็น v1 และ ณ เวลาถัดต่อมา t2 วัตถุจะอยู่ที่จุด P2 และมีความเร็วชั่วขณะ เป็นส่วนประกอบแกน x เป็น v2
ที่มาhttp://motionthai.blogspot.com/

3 ความคิดเห็น:

  1. จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน-ให้ 60 คะแนน
    น.ส.อารีรัตน์ กล่อมดี ม.5/1 เลขที่ 42
    น.ส.นพวรรณ อ่อนละออ ม.5/1 เลขที่ 34

    ตอบลบ
  2. จากคะแนน 100 คะแนน-ให้ 90 คะแนน
    น.ส.ดวงใจกระแจะจันทร์ ม.5/1 เลขที่ 29
    น.ส.ธิดา พันธ์เรือง ม.5/1 เลขที่ 33

    ตอบลบ
  3. รวม 2 คน เต็ม 200 คะแนน ได้ 150
    หาร 2 เต็ม 100 คะแนน ได้ 75

    ตอบลบ